ความรู้สุขภาพและบทความแพทย์

 หน้าแรก
» ความรู้สุขภาพและบทความแพทย์ แบ่งปันไปยัง facebook
จำนวนทั้งหมด 339 รายการ
หน้า
1
2
3
4
5
6
...
34

"มะเร็งตับ" การให้การรักษาด้วยยาภูมิคุ้มกันบำบัดและยามุ่งเป้าร่วมกับการทำ TACE

บทความจาก นพ.เอกกมล ไพบูลย์วัฒนพงศ์
อัพเดต : 8 ก.ย.66
เรื่องมะเร็งตับ...เราก็จะขยายความเพิ่มขึ้นการรักษาเดิมๆที่เคยเล่าไปแล้วจากเดิมที่มีการรักษาเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งก็พบว่าการใช้การรักษาหลายอย่างควบคู่กันสามารถลดโอกาสการกลับมาเป็นซ้ำช่วยทำให้ก้อนยุบได้มากกว่าครึ่งอีกทั้งเพิ่มโอกาสการรอดชีวิตได้มากกว่าครึ่ง

"มะเร็งต่อมลูกหมาก" ฝันร้าย..ของชายชาตรี

บทความจาก นพ.เอกกมล ไพบูลย์วัฒนพงศ์
อัพเดต : 8 ก.ย.66
มะเร็งเต้านมเป็นโรคคู่ผู้หญิงฉันใด มะเร็งต่อมลูกหมากก็มากับผู้ชายฉันนั้น ปัญหามันอยู่ที่การคัดกรองต้องตรวจทางทวารหนักด้วย ซึ่งจะให้ชายไทยมาเสียอธิปไตยก็ใช่ที่ แต่อย่างน้อยตรวจเลือดหาค่ามะเร็งอย่างเดียวก็ยังดีกว่าไม่ตรวจอะไรเลย
มะเร็งลำไส้ตรง...ฝันร้ายของคนไทย

มะเร็งลำไส้ตรง...ฝันร้ายของคนไทย

บทความจาก นพ.เอกกมล ไพบูลย์วัฒนพงศ์
อัพเดต : 8 ก.ย.66
คนไข้มะเร็งลำไส้ตรงส่วนใหญ่ คงจะกลัวหัวลุกกับการที่ต้องมีถุงหน้าท้องไปตลอดชีวิต ทำให้เกิดความกังวลอย่างมากในการใช้ชีวิต ก็พบว่ามีคนไข้บางกลุ่ม สามารถที่จะผ่าตัดลำไส้ได้โดยที่ไม่ต้องขับถ่ายทางหน้าท้อง
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นไฟฟ้า EKG เพื่อตรวจหาความเสี่ยงโรคหัวใจ

การตรวจหัวใจด้วยคลื่นไฟฟ้า EKG เพื่อตรวจหาความเสี่ยงโรคหัวใจ

อัพเดต : 6 ก.ย.66
ตรวจหัวใจด้วยคลื่นไฟฟ้า EKG เป็นการตรวจเพื่อหาความเสี่ยงเบื้องต้นต่อโรคที่มีผลกับการทำงานของหัวใจ เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง หาสาเหตุการเจ็บหน้าอก ซึ่งเป็นการตรวจที่ไม่มีอันตรายต่อร่างกาย ตรวจง่าย ไม่เจ็บตัว ใช้เวลาไม่นาน และทราบผลได้เลย
สาระน่ารู้เกี่ยวกับมะเร็งต่อมไทรอยด์และการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131)

สาระน่ารู้เกี่ยวกับมะเร็งต่อมไทรอยด์และการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131)

บทความจาก นพ.อัฒฐพล วิระเทพสุภรณ์
อัพเดต : 21 พ.ย.66
สาระน่ารู้เกี่ยวกับมะเร็งต่อมไทรอยด์และการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131) ตอบคำถาม เป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์แล้วรักษาได้หรือไม่ มีวิธีการรักษาอย่างไร ผลข้างเคียงมีอะไรบ้าง อาหารอะไรบ้างที่มีสารไอโอดีนสูง
สาระน่ารู้เกี่ยวกับคอพอกเป็นพิษและการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131)

สาระน่ารู้เกี่ยวกับคอพอกเป็นพิษและการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131)

บทความจาก นพ.อัฒฐพล วิระเทพสุภรณ์
อัพเดต : 21 พ.ย.66
คอพอกเป็นพิษ มีวิธีการรักษาที่นิยม อยู่ 3 วิธี คือ 1.การรับประทานยาต้านไทรอยด์ฮอร์โมน 2.การรับประทานสารรังสีไอโอดีน (I-131) 3.การผ่าตัดต่อมไทรอยด์
การปฏิบัติตนของผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์ที่ได้รับการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131)

การปฏิบัติตนของผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์ที่ได้รับการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131)

บทความจาก นพ.อัฒฐพล วิระเทพสุภรณ์
อัพเดต : 21 พ.ย.66
การปฏิบัติตนของผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์ที่ได้รับการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131) หลังจากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131) ด้วยวิธีการรับประทาน จำเป็นต้องปฏิบัติตนดังนี้
การปฏิบัติตนของผู้ป่วยต่อมไทรอยด์เป็นพิษที่ได้รับการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน  (I-131)

การปฏิบัติตนของผู้ป่วยต่อมไทรอยด์เป็นพิษที่ได้รับการรักษาด้วยสารรังสีไอโอดีน (I-131)

บทความจาก นพ.อัฒฐพล วิระเทพสุภรณ์
อัพเดต : 21 พ.ย.66
หลังจากรับประทานสารรังสีไอโอดีน จะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดแล้วไปจับที่ต่อมไทรอยด์ จะและปล่อยรังสีออกมา ผู้ป่วยต้องป้องกันรังสีไปถูกผู้อื่น มีหลักอยู่ 4 ประการ คือ ระยะทาง เวลา สิ่งกำบัง ความสะอาด และมีข้อควรระวังดังนี้
หน้า
1
2
3
4
5
6
...
34
จำนวนทั้งหมด 339 รายการ
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้
เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ แสดงเนื้อหาและโฆษณาให้ตรงกับความสนใจ รวมถึงเพื่อวิเคราะห์การเข้าใช้งานเว็บไซต์และทำความเข้าใจว่าผู้ใช้งานมาจากที่ใด
คุณสามารถอ่านและทำความเข้าใจได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัวและข้อกำหนดในการให้บริการ